ยาพาราเด็กใช้อย่างไรให้ถูกวิธี
สิ่งที่พ่อแม่ไม่อยากให้เกิดขึ้นกับลูกน้อยมากที่สุดคงหนีไม่พ้นเรื่องของสุขภาพและอาการเจ็บไข้ได้ป่วย เนื่องจากลูกไม่สามารถบอกเราได้ว่ารู้สึกอย่างไร เจ็บหรือปวดตรงหรือเปล่าไหน ดังนั้นพ่อแม่ต้องรู้ให้ทันหากลูกเริ่มมีอาการป่วยและสิ่งสำคัญควรรู้คือ เมื่อลูกมีไข้ ตัวร้อน ควรให้รับประทานยาพาราเด็กปริมาณกี่โดสจึงจะเหมาะสมและปลอดภัยที่สุด ซึ่งวิธีการใช้ยาพาราเด็ก มีดังนี้
ขนาด ยา พารา เด็กที่ควรได้รับ
- เด็กที่มีน้ำหนักตัว 12 – 15 กิโลกรัม ปริมาณยาพาราเด็ก ที่ควรได้รับคือ 120 ถึง 125 มิลลิกรัม
- เด็กที่มีน้ำหนักตัว16 – 24 กิโลกรัม ปริมาณยา พารา ของ เด็กที่ควรได้รับคือ 160 มิลลิกรัม
- เด็กที่มีน้ำหนักตัว 25 – 40 กิโลกรัม ปริมาณยา พารา ของ เด็กที่ควรได้รับคือ 250 มิลลิกรัม
อายุเท่าไหร่จึงจะสามารถทานพารา สำหรับ เด็กได้
การใช้ยาพาราเด็กข้อควรระวังคือ ไม่ควรให้เด็ก กิน ยา พาราหากอายุต่ำกว่า 3 เดือน พ่อแม่ควรปรึกษาแพทย์เพื่อสอบถามปริมาณยาและตัวยาที่เหมาะสมแก่ช่วยวัยก่อน เนื่องจากเด็กยังเล็กมาก ทำให้อาจเกิดความเสี่ยงที่จะได้รับผลข้างเคียงจากตัวยามากกว่าเด็กโต
ประเภทของยาแก้ไข้สำหรับเด็ก
โดยทั่วไปแพทย์จะสั่งจ่ายยาพาราเด็กหรือยาลดไข้สำหรับเด็กที่มีอายุ 3 เดือนขึ้นไป ดังนี้ ยา พารา น้ำ เด็ก ยา พารา เม็ด เด็ก ยา พารา แบบ เหน็บ และยาอะเซตามิโนเฟน (Acetaminophen) ซึ่งปริมาณยาและความถี่ในการรับประทานควรให้แพทย์เป็นคนแจ้งเท่านั้น
วิธีลดไข้โดยไม่พึ่งยา
จากที่กล่าวมาข้างต้น หากถามว่าเด็ก กิน ยา พารา ได้ ไหม คำตอบคือได้ แต่ถ้าเด็กไม่ได้มีไข้สูงมากนัก อาการไม่รุนแรงมีเพียงไข้อ่อน ๆ พ่อแม่สามารถใช้วิธีการเช็ดตัว ให้เด็กจิบน้ำบ่อย ๆ และพักผ่อนเยอะ ๆ แทนการให้เด็ก กิน พารา หรือถ้ามีลักษณะยาพาราเด็กยาก สามารถใช้ยา พารา แบบ เหน็บแทนได้ แต่เมื่อใดที่เด็กมีอาการรุนแรงขึ้น เช่น ไข้สูงขึ้น ซึม ไม่สบายตัว และอ่อนเพลีย ควรนำเด็กไปพบแพทย์เพื่อเข้ากระบวนการรักษาต่อไป
ข้อควรระวังการใช้อุปกรณ์ให้ยา
อุปกรณ์ให้ยาสำหรับเด็กมี 2 แบบคือ ไซรินจ์ (Syringe) และช้อนยา หากพ่อแม่เลือกใช้ไซรินจ์ในการป้อนยา ควรดูปริมาณ dose ยาพารา เด็กที่ควรได้รับว่าเป็นแบบ ออนซ์ (Ounce: oz) หรือแบบมิลลิลิตร (Milliliter: ml) และถ้าหากเลือกใช้แบบช้อนยา ควรดูปริมาณข้างกล่องว่าเด็กควรได้รับยาพาราเด็กกี่ช้อนตามความเหมาะสมของน้ำหนักตัวและช่วงอายุ
ยาพาราเด็ก
เมื่อเด็กมีอาการไข้ขึ้นควรให้กินยาพาราเด็กตามปริมาณที่เหมาะสมต่อร่างกาย ซึ่งพ่อแม่สามารถปรึกษาแพทย์เพื่อให้แพทย์สั่งจ่ายยาหรือศึกษาจากฉลากกำกับยาข้างกล่อง ซึ่งโดยทั่วไปแล้วพ่อแม่ควรให้เด็กกินยาพาราทุก ๆ 4 – 6 ชั่วโมง กินไม่เกิน 5 ครั้งต่อวัน และไม่ควรกินติดต่อกัน 3 – 5 วัน หากอาการเด็กไม่ดีขึ้น ควรพบแพทย์โดยด่วน
วิธีลดไข้สำหรับเด็ก
เบื่องต้นเราได้รวบรวม 5 วิธีการลดไข้สำหรับเด็กไว้ให้แล้ว ซึ่งพ่อแม่สามารถทำเองได้ที่บ้านเพื่อลดอุณหภูมิภายในร่างกายเด็กให้เร็วที่สุด แต่ข้อควรระวังคือ หากทำตามขั้นตอนดังกล่าวแล้ว แต่อาการเด็กยังไม่ดีขึ้นแถมยังมีไข้สูงขึ้นเรื่อย ๆ พ่อแม่ต้องรีบนำตัวเด็กส่งโรงพยาบาลทันที เพื่อป้องกันเด็กเกิดอาการชัก
1. รับประทานยาพาราสำหรับเด็ก
ปริมาณยาพาราเด็กที่ควรได้รับขึ้นอยู่กับน้ำหนักตัวของเด็กแต่ละคน ซึ่งคำนวณได้ดังนี้ โด ส พารา เด็ก 10 – 15 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัวเด็ก 1 กิโลกรัม ถ้าหากเด็กน้ำหนักตัว 15 กิโลกรัม ควรได้รับยา 125 มิลลิกรัม แต่ถ้าเด็กอายุต่ำกว่า 3 เดือน พ่อแม่ไม่ควรให้ยาพาราเด็กเอง ควรปรึกษาแพทย์เท่านั้น
2. การดื่มน้ำ
เมื่อเด็กมีไข้สูงและตัวร้อน การดื่มน้ำเปล่าอุณหภูมิห้อง สามารถช่วยลดความร้อนภายในร่างกายได้ ทำให้อุณหภูมิในร่างกายเย็นลงและที่สำคัญช่วยลดอาการภาวะร่างกายขาดน้ำได้อีกด้วย ดังนั้นหลังให้ยาพาราเด็กแล้ว ควรให้เด็กจิบน้ำบ่อย ๆ ตลอดทั้งวัน
3. เช็ดตัวเพื่อลดอุณหภูมิในร่างกาย
นอกจากกินยาพาราเด็กเพื่อลดไข้แล้ว การเช็ดตัวด้วยน้ำเปล่าอุณหภูมิห้องประมาณ 27 – 37 องศาเซลเซียส จะทำให้หลอดเลือดขยายตัวและสามารถระบายความร้อนใต้ผิวหนังได้ดี ซึ่งวิธีเช็ดตัวเพื่อระบายความร้อนที่ถูกต้องคือ การเช็ดย้อนรูขุมขน
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
การนอนหลับเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ทำให้ร่างกายได้ซ่อมแซมและฟื้นฟูตัวเอง ซึ่งการนอนให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดคือ หลังจากให้ยาพาราเด็กแล้ว ควรให้เด็กนอนในห้องที่มีอุณหภูมิปกติไม่ร้อนหรือไม่เย็น อากาศปลอดโปรงถ่ายเทได้ดี และที่สำคัญควรนอนในห้องที่เงียบและมืดสนิท
5. การใส่เสื้อผ้า
เมื่อเป็นไข้เด็กจะมีอาการคลั่นเนื้อคลั่นตัว ไม่สบายตัว ร้อนรุ่ม ปวดเมื่อยตามร่างกาย และอารมณ์อ่อนไหหงุดหงิดง่าย ดังนั้นอีกหนึ่งตัวช่วยนอกจากการให้ยาพาราเด็กคือ พ่อแม่ควรหาเสื้อผ้าที่ใส่สบาย เนื้อผ้าบางเบา ไม่รัดตัว เพื่อให้เด็กรู้สึกสบายตัวและยังช่วยให้ร่างกายระบบความร้อนได้ดีอีกด้วย
สิ่งที่ต้องเตรียมเพื่อใช้เช็ดตัว
นอกจากยาพาราเด็กที่พ่อแม่ต้องเตรียมแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญคืออุปกรณ์สำหรับเช็ดตัวเมื่อลูกมีอาการไข้ขึ้นและตัวร้อน ได้แก่ กะละมังใส่น้ำขนาดเล็กเพื่อใส่น้ำอุณหภูมิห้อง ผ้าขนหนูผืนเล็ก 2 – 3 ผืน ผ้าเช็ดตัวผืนใหญ่ 1 ผืน แป้งเด็กใช้ทาตัวหลังเช็ดตัวและเสื้อผ้าที่ระบายความร้อนได้ดี
วิธีเช็ดตัวเพื่อลดไข้
ขั้นตอนการเช็ดตัวลดไข้อย่างไรให้ถูกวิธีโดยไม่ต้องใช้ยาพาราเด็ก ดังนี้
- เตรียมอุปกรณ์สำหรับใช้เช็ดตัว
- ถอดเสื้อผ้าให้เด็กในขณะที่อยู่อุณหภูมิห้องปกติ
- ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุณหภูมิห้องแล้วเช็ดตามศีรษะ ใบหน้า ซอกคอ หลังหู รักแร้ ผิวหนังบริเวณตัว แขน ขา หลังและเท้าโดยการเช็ดแบบย้อนรูขุมขน
- ใช้เวลาเช็ดตัวประมาณ 15 นาทีต่อครั้งเพื่อลดอุณหภูมิในร่างกาย
- ใช้ผ้าขนหนูแบบแห้งเช็ดตัวเด็กอีกครั้งและทาแป้งให้ทั่วร่างกายเพื่อให้เด็กรู้สึกสบายตัว
- สวมเสื้อผ้าที่สามารถระบายความร้อนได้ดี
สรุปยาพาราเด็ก
เด็กไม่สามารถบอกเราได้อย่างละเอียดว่ารู้สึกอย่างไรและอาการแบบไหนถึงเรียกว่าป่วย ดังนั้นควรมียาพาราเด็กติดบ้านไว้เสมอเพื่อเตรียมความพร้อมหากลูกมีอาการป่วย แต่อย่างไรแล้วยาทุกตัวล้วนมีข้อควรระวังในการใช้ พ่อแม่ควรอ่านฉลากข้างขวดอย่างละเอียดเพื่อให้ลูกได้รับยา พารา ใน เด็กอย่างถูกวิธีและหลีกเลี่ยงผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับขนาด ยา พารา ใน เด็กในปริมาณที่ไม่เหมาะสม